นับตั้งแต่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ การดำเนินธุรกิจต่างๆ เกือบทุก
สาขาได้หยุดชะงักหรือชะลอตัวลงหรือแม้กระทั้งปิ ดกิจการไป
เนื่องจากกิจการส่วนใหญ่ประสบปัญหาการขาดสภาพคล่องทาง
การเงิน ยอดขายลดลง ทำให้มีสินค้าคงเหลืออยู่เป็ นจำนวนมาก
ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้ผู้ผลิตจำเป็นต้องหันมาพัฒนาผลิตภัณฑ์
และกำหนดกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อรองรับกล่มุ ลูกค้าและการแข่งขัน
การใช้กลยุทธ์เดิมๆ คือ การเร่งพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และ
บริการให้มีความโดดเด่นและใช้กลยุทธ์ด้านราคาด้วยการลด
ต้นทุนและตัดค่าใช้จ่ายลง แต่องค์กรทุกองกรค์ต่างใช้กลยุทธ์ที่
ไม่แตกต่างกันจนกระทั้ง ไม่ได้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบ
กันมากนัก แต่ในปัจจุบันมีแนวความคิดที่กำลังได้รับความสนใจ
และให้ความสำ คัญกันมากคือ การบริหารซัพพลายเชน
(Supply Chain Management : SCM)
suppliers, manufacturers, distributors เพื่อส่งมอบ
สินค้าหรือบริการให้ลูกค้าโดยมีการเชื่อมโยงระบบข้อมูล วัตถุดิบ
สินค้าและบริการ เงินทุน รวมถึงการส่งมอบเข้าด้วยกัน เพื่อให้
การส่งมอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถส่งมอบได้
ตรงตามเวลาและความต้องการ
การบริหารจัดการซับพราย
เป็ นการจัดการที่ต้องอาศัยความร่วมมือของคู่ค้าที่เกี่ยวข้อง
ในซัพพลายเชนเราเป็นสำคัญ องค์กรทีมีความรู้ในการบริหาร
จัดการดีควรต้องถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการปรับปรุงระบบงาน
และการประสานงานระหว่างองค์กรให้แก่องค์กรอื่นๆ ในซัพ
พลายเชน การพัฒนาศักยภาพของซัพพลายเชนนั้น นอกจาก
ระบบการประสานงานที่ดีภายในองค์กรแต่ละองค์กรแล้ว จะต้อง
พิจารณาความสามารถในการประสานระบบงานระหว่างองค์กร
ใน 3 ส่วนหลัก ได้แก่
1. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการระหว่างกลุ่ม
suppliers (Supply-management interface capabilities)
เพือให้ระบบปฏิบัติการโดยรวมมีต้นทุนตำ ทีสุด มีระบบโล
จิสติกส์ในการส่งผ่านวัตถุดิบ ผลิต และส่งมอบสินค้าทีมี
ประสิทธิภาพและสามารถใช้ประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์ใน
การแข่งขันเชิงรุกเพือสร้างสรรค์ระบบการส่งมอบสินค้าทีรวดเร็ว
ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากข ึน
2. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของลูกค้า(Demand-management interface
capabilities)
เป็นระบบการบริหารจัดการเพือการให้บริการทีมีคุณภาพ
และการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ทังก่อน ระหว่าง และ
ภายหลังการขาย เพือสร้างความได้เปรียบเพิมข ึนในเชิงการแข่งขัน
คุณภาพโลจิสติกส์ทีต้องการคือ ความรวดเร็ว การมีสินค้าพร้อม
จำหน่ายเมือลูกค้าต้องการ การส่งมอบสินค้าทีสมบูรณ์สอดคล้อง
ตามความต้องการของลกู ค้าและการมีระบบสือสารทีลูกค้าสามารถ
เข้าถึงข้อมูลทีเกียวข้องหรือสอบถามและร้องเรียนกับทางบริษัท
ได้สะดวก ศักยภาพในการบริการยังหมายถึง ความสามารถใน
การให้บริการทียืดหยุ่นมากข ึนในแง่ของการเปลียนแปลงคำสัง
ซ ือในเรืองของปริมาร สถานที ชนิด ได้ในระยะเวลากระชันมาก
ข ึน ตลอดจนความสามารถในการผลิตและส่งมอบสินค้าใน
ปริมาณมากด้วยความรวดเร็วได้เมือเกิดความต้องการสินค้า
แบบไม่คาดหมายข ึน
3. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการสารสนเทศ
(Information management capabilities)
ระบบสือสารระหว่างองค์กรในซัพพลายเชนมีความสำคัญ
อย่างยิง ก่อนทีบริษัทข้ามชาติจะเริมต้นประกอบการในประเทศ
ต่างๆ จะต้องมีการวางโครงสร้างพ นื ฐานทาง IT พิจารณาวางแผน
กับปัญหาในเรืองการประสานข้อมูลต่างๆ ทังในระบบองค์กรและ
ระหว่างองค์กรโดยพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กับการวางกลยุทธ์
ระบบสือสารทีดีทำให้เกิดความรวดเร็วและประหยัดต้นทุนในการ
ดำเนินงานได้มาก เมือเริมต้นประกอบการแล้วจึงมักได้เปรียบคู่
20
ปัญหาในการจัดการซับพลาย
การจัดการซัพพลายเชนให้ประสบความสำเร็จเป็นสิงทีทุก
องค์กรต้องการ อย่างไรก็ตามในบางครังการจัดการซัพพลายเชน
อาจจะมีปัญหาเกิดข ึน ซึงสามารถจำแนกได้ดังน ี
1. ปัญหาจากการพยากรณ์
การพยากรณ์ความต้องการสินค้าเป็ นสิงทีสำคัญมากใน
การจัดการซัพพลายเชน ซึงการพยากรณ์ทีผิดพลาดมีส่วนสำคัญ
ทีทำให้การวางแผนการผลิตผิดพลาด และอาจจะทำให้ผู้ผลิตมี
สินค้าไม่เพียงพอกับความต้องการของลูกค้าทีเกิดข ึน
2. ปัญหาในกระบวนการผลิต
ปัญหาทีเกิดจากกระบวนการผลิตอาจจะทำให้ไม่สามารถ
ผลิตสินค้าได้ตามเวลาทีกำหนดไว้ เช่น เครืองจักรเสียทำให้ต้อง
เสียเวลาส่วนหนึงในการซ่อมและปรับตังเครืองจักร
3. ปัญหาด้านคุณภาพ
ปัญหาด้านคุณภาพอาจจะส่งผลให้กระบวนการผลิตต้อง
หยุดชะงัก และทำให้ไม่สามารถส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าได้
ตามทีกำหนดไว้ นอกจากนันระบบการขนส่งทีไม่มีคุณภาพ
สามารถส่งผลกระทบต่อผู้ทีอย่ใู นโซ่อุปทานได้เช่นกัน
4. ปัญหาในการส่งมอบสินค้า
การส่งมอบทีล่าช้าเกิดข ึนได้ตังแต่เรืองของวัตถุดิบ งาน
ระหว่างทำ และสินค้าสำเร็จรูป เช่น ซัพพลายเออร์ส่งมอบ
วัตถุดิบล่าช้า ทำให้ผู้ผลิตไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามตารางการ
ผลิตทีกำหนดไว้ นอกจากนัน ในระหว่างกระบวนการผลิต การส่ง
ต่องานระหว่างทำทีล่าช้าตามไปด้วยในกรณีทีไม่สามารถปรับ
ตารางการผลิตได้ทัน ยิงไปกว่านัน การส่งมอบสินค้าสำเร็จรูปให้
ลูกค้าล่าช้าจะส่งผลกระทบต่อระดับการให้บริการลูกค้าและ
ความสามารถในการแข่งขันของกิจการ
5. ปัญหาด้านสารสนเทศ
สารสนเทศทีผิดพลาดมีผลกระทบต่อการจัดการโซ่
อุปทาน ซึงทำให้การผลิตและการส่งมอบสินค้าผิดไปจากที
กำหนดไว้ ความผิดพลาดในสารสนเทศทีเกิดข ึนมีหลายประการ
เช่น ความผิดพลาดในการสัง ซ ือวัตถุดิบ การกำหนดตารางการ
ผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การขนส่ง ฯลฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น