วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

บทที่ 7 SCM, ERP, CRM supply chain management

 supply chain management

นับตั้งแต่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ การดำเนินธุรกิจต่างๆ เกือบทุก
สาขาได้หยุดชะงักหรือชะลอตัวลงหรือแม้กระทั้งปิ ดกิจการไป
เนื่องจากกิจการส่วนใหญ่ประสบปัญหาการขาดสภาพคล่องทาง
การเงิน ยอดขายลดลง ทำให้มีสินค้าคงเหลืออยู่เป็ นจำนวนมาก
ต้นทุนการผลิตปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงพฤติกรรมผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้ผู้ผลิตจำเป็นต้องหันมาพัฒนาผลิตภัณฑ์
และกำหนดกลยุทธ์ต่างๆ เพื่อรองรับกล่มุ ลูกค้าและการแข่งขัน

การใช้กลยุทธ์เดิมๆ คือ การเร่งพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์และ
บริการให้มีความโดดเด่นและใช้กลยุทธ์ด้านราคาด้วยการลด
ต้นทุนและตัดค่าใช้จ่ายลง แต่องค์กรทุกองกรค์ต่างใช้กลยุทธ์ที่
ไม่แตกต่างกันจนกระทั้ง ไม่ได้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบ
กันมากนัก แต่ในปัจจุบันมีแนวความคิดที่กำลังได้รับความสนใจ
และให้ความสำ คัญกันมากคือ การบริหารซัพพลายเชน
(Supply Chain Management : SCM)


ระบบที่จัดการการบริหารและเชื่อมโยงเครือข่ายตั้งแต่
suppliers, manufacturers, distributors เพื่อส่งมอบ
สินค้าหรือบริการให้ลูกค้าโดยมีการเชื่อมโยงระบบข้อมูล วัตถุดิบ
สินค้าและบริการ เงินทุน รวมถึงการส่งมอบเข้าด้วยกัน เพื่อให้
การส่งมอบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถส่งมอบได้
ตรงตามเวลาและความต้องการ

การบริหารจัดการซับพราย
เป็ นการจัดการที่ต้องอาศัยความร่วมมือของคู่ค้าที่เกี่ยวข้อง
ในซัพพลายเชนเราเป็นสำคัญ องค์กรทีมีความรู้ในการบริหาร
จัดการดีควรต้องถ่ายทอดแนวคิดและวิธีการปรับปรุงระบบงาน
และการประสานงานระหว่างองค์กรให้แก่องค์กรอื่นๆ ในซัพ
พลายเชน การพัฒนาศักยภาพของซัพพลายเชนนั้น นอกจาก
ระบบการประสานงานที่ดีภายในองค์กรแต่ละองค์กรแล้ว จะต้อง
พิจารณาความสามารถในการประสานระบบงานระหว่างองค์กร
ใน 3 ส่วนหลัก ได้แก่
1. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการระหว่างกลุ่ม
suppliers (Supply-management interface capabilities)
เพ􀀧ือให้ระบบปฏิบัติการโดยรวมมีต้นทุนตำ􀀧 ท􀀧ีสุด มีระบบโล
จิสติกส์ในการส่งผ่านวัตถุดิบ ผลิต และส่งมอบสินค้าที􀀧มี
ประสิทธิภาพและสามารถใช้ประสิทธิภาพของระบบโลจิสติกส์ใน
การแข่งขันเชิงรุกเพื􀀧อสร้างสรรค์ระบบการส่งมอบสินค้าที􀀧รวดเร็ว
ตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้มากข􀀅 ึน
2. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของลูกค้า(Demand-management interface
capabilities)
เป็นระบบการบริหารจัดการเพื􀀧อการให้บริการที􀀧มีคุณภาพ
และการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ทั􀀅งก่อน ระหว่าง และ
ภายหลังการขาย เพ􀀧ือสร้างความได้เปรียบเพ􀀧ิมข􀀅 ึนในเชิงการแข่งขัน
คุณภาพโลจิสติกส์ที􀀧ต้องการคือ ความรวดเร็ว การมีสินค้าพร้อม
จำหน่ายเม􀀧ือลูกค้าต้องการ การส่งมอบสินค้าท􀀧ีสมบูรณ์สอดคล้อง
ตามความต้องการของลกู ค้าและการมีระบบส􀀧ือสารท􀀧ีลูกค้าสามารถ
เข้าถึงข้อมูลที􀀧เกี􀀧ยวข้องหรือสอบถามและร้องเรียนกับทางบริษัท
ได้สะดวก ศักยภาพในการบริการยังหมายถึง ความสามารถใน
การให้บริการท􀀧ียืดหยุ่นมากข􀀅 ึนในแง่ของการเปล􀀧ียนแปลงคำสัง􀀧
ซ􀀅 ือในเร􀀧ืองของปริมาร สถานท􀀧ี ชนิด ได้ในระยะเวลากระชั􀀅นมาก
ข􀀅 ึน ตลอดจนความสามารถในการผลิตและส่งมอบสินค้าใน
ปริมาณมากด้วยความรวดเร็วได้เมื􀀧อเกิดความต้องการสินค้า
แบบไม่คาดหมายข􀀅 ึน
3. ศักยภาพในการประสานระบบการจัดการสารสนเทศ
(Information management capabilities)
ระบบสื􀀧อสารระหว่างองค์กรในซัพพลายเชนมีความสำคัญ
อย่างยิ􀀧ง ก่อนที􀀧บริษัทข้ามชาติจะเริ􀀧มต้นประกอบการในประเทศ
ต่างๆ จะต้องมีการวางโครงสร้างพ􀀅 นื ฐานทาง IT พิจารณาวางแผน
กับปัญหาในเร􀀧ืองการประสานข้อมูลต่างๆ ทั􀀅งในระบบองค์กรและ
ระหว่างองค์กรโดยพัฒนาร่วมกันไปพร้อมๆ กับการวางกลยุทธ์
ระบบส􀀧ือสารท􀀧ีดีทำให้เกิดความรวดเร็วและประหยัดต้นทุนในการ
ดำเนินงานได้มาก เม􀀧ือเร􀀧ิมต้นประกอบการแล้วจึงมักได้เปรียบคู่
20




ปัญหาในการจัดการซับพลาย
การจัดการซัพพลายเชนให้ประสบความสำเร็จเป็นสิ􀀧งที􀀧ทุก
องค์กรต้องการ อย่างไรก็ตามในบางครั􀀅งการจัดการซัพพลายเชน
อาจจะมีปัญหาเกิดข􀀅 ึน ซ􀀧ึงสามารถจำแนกได้ดังน􀀅 ี
1. ปัญหาจากการพยากรณ์
การพยากรณ์ความต้องการสินค้าเป็ นส􀀧ิงท􀀧ีสำคัญมากใน
การจัดการซัพพลายเชน ซ􀀧ึงการพยากรณ์ท􀀧ีผิดพลาดมีส่วนสำคัญ
ที􀀧ทำให้การวางแผนการผลิตผิดพลาด และอาจจะทำให้ผู้ผลิตมี
สินค้าไม่เพียงพอกับความต้องการของลูกค้าท􀀧ีเกิดข􀀅 ึน
2. ปัญหาในกระบวนการผลิต
ปัญหาท􀀧ีเกิดจากกระบวนการผลิตอาจจะทำให้ไม่สามารถ
ผลิตสินค้าได้ตามเวลาท􀀧ีกำหนดไว้ เช่น เคร􀀧ืองจักรเสียทำให้ต้อง
เสียเวลาส่วนหน􀀧ึงในการซ่อมและปรับตั􀀅งเคร􀀧ืองจักร
3. ปัญหาด้านคุณภาพ
ปัญหาด้านคุณภาพอาจจะส่งผลให้กระบวนการผลิตต้อง
หยุดชะงัก และทำให้ไม่สามารถส่งมอบสินค้าให้แก่ลูกค้าได้
ตามท􀀧ีกำหนดไว้ นอกจากนั􀀅นระบบการขนส่งท􀀧ีไม่มีคุณภาพ
สามารถส่งผลกระทบต่อผู้ท􀀧ีอย่ใู นโซ่อุปทานได้เช่นกัน
4. ปัญหาในการส่งมอบสินค้า
การส่งมอบท􀀧ีล่าช้าเกิดข􀀅 ึนได้ตั􀀅งแต่เร􀀧ืองของวัตถุดิบ งาน
ระหว่างทำ และสินค้าสำเร็จรูป เช่น ซัพพลายเออร์ส่งมอบ
วัตถุดิบล่าช้า ทำให้ผู้ผลิตไม่สามารถผลิตสินค้าได้ตามตารางการ
ผลิตท􀀧ีกำหนดไว้ นอกจากนั􀀅น ในระหว่างกระบวนการผลิต การส่ง
ต่องานระหว่างทำที􀀧ล่าช้าตามไปด้วยในกรณีที􀀧ไม่สามารถปรับ
ตารางการผลิตได้ทัน ย􀀧ิงไปกว่านั􀀅น การส่งมอบสินค้าสำเร็จรูปให้
ลูกค้าล่าช้าจะส่งผลกระทบต่อระดับการให้บริการลูกค้าและ
ความสามารถในการแข่งขันของกิจการ
5. ปัญหาด้านสารสนเทศ
สารสนเทศที􀀧ผิดพลาดมีผลกระทบต่อการจัดการโซ่
อุปทาน ซึ􀀧งทำให้การผลิตและการส่งมอบสินค้าผิดไปจากที􀀧
กำหนดไว้ ความผิดพลาดในสารสนเทศท􀀧ีเกิดข􀀅 ึนมีหลายประการ
เช่น ความผิดพลาดในการสัง􀀧 ซ􀀅 ือวัตถุดิบ การกำหนดตารางการ
ผลิต การควบคุมสินค้าคงคลัง การขนส่ง ฯลฯ




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น